9 เหตุการณ์น่าประทับใจในงานประกาศรางวัลลูกโลกทองคำ

9 เหตุการณ์น่าประทับใจในงานประกาศรางวัลลูกโลกทองคำ

จบลงไปแล้วสำหรับงานประกาศรางวัลลูกโลกทองคำครั้งที่ 80 ท … Read more

Lenacapavir เปลี่ยนชีวิตผู้ติดเชื้อเอชไอวีอย่างไร?

Lenacapavir เปลี่ยนชีวิตผู้ติดเชื้อเอชไอวีอย่างไร?

ในปัจจุบัน วงการแพทย์ได้ก้าวไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในการรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี (HIV) ล่าสุด ยา Lenacapavir ได้รับการยอมรับว่าเป็นความหวังใหม่สำหรับผู้ที่ติดเชื้อ เนื่องจากมีคุณสมบัติที่โดดเด่นในการช่วยควบคุมไวรัส และเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นอย่างชัดเจน

ตรวจ HIV ผ่าน Love2Test.org ยิ่งรู้เร็ว ยิ่งปลอดภัย!

ตรวจ HIV ผ่าน Love2Test.org ยิ่งรู้เร็ว ยิ่งปลอดภัย!

Love2Test.org คือแพลตฟอร์มที่สร้างขึ้นมาเพื่อช่วยให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงบริการตรวจ HIV และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้อย่างปลอดภัย สะดวก และเป็นส่วนตัวสูงสุด

ไขข้อสงสัย! U=U ช่วยหยุดการแพร่เชื้อเอชไอวีได้อย่างไร?

ไขข้อสงสัย! U=U ช่วยหยุดการแพร่เชื้อเอชไอวีได้อย่างไร?

ปัจจุบันการรักษาเอชไอวี (HIV) มีความก้าวหน้ามากขึ้นเรื่อย ๆ หนึ่งในแนวคิดที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล และเปลี่ยนแปลงชีวิตของผู้ติดเชื้อไปอย่างมาก คือ U=U หรือ Undetectable = Untransmittable ซึ่งหมายความว่า หากผู้ติดเชื้อได้รับยาต้านไวรัส (ART) อย่างสม่ำเสมอจนระดับไวรัสต่ำจนตรวจไม่พบ (Undetectable) ก็จะไม่สามารถแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นผ่านทางเพศสัมพันธ์ได้ (Untransmittable)

ทำไมการใช้ถุงยางอนามัย 2 ชั้น อาจไม่ปลอดภัยอย่างที่คิด?

ทำไมการใช้ถุงยางอนามัย 2 ชั้นอาจไม่ปลอดภัยอย่างที่คิด?

เมื่อพูดถึงการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการคุมกำเนิด ถุงยางอนามัย เป็นวิธีที่ได้รับการแนะนำและใช้กันอย่างแพร่หลาย ด้วยความเชื่อที่ว่าการใช้ ถุงยางอนามัย 2 ชั้น (Double Condom) อาจช่วยเพิ่มความปลอดภัยให้มากขึ้น หลายคนอาจคิดว่าหากใช้สองชั้น ย่อมต้องป้องกันได้ดีกว่า แต่ความจริงกลับตรงกันข้าม เพราะการใช้ถุงยางอนามัย 2 ชั้น อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการฉีกขาด และลดประสิทธิภาพในการป้องกัน แทนที่จะให้ความปลอดภัยมากขึ้น

Doxy-PEP แนวทางใหม่ในการลดความเสี่ยงโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

Doxy-PEP แนวทางใหม่ในการลดความเสี่ยงโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อัตราการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (STI) เช่น หนองในแท้ (Gonorrhea), ซิฟิลิส (Syphilis) และหนองในเทียม (Chlamydia) ได้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM) และกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง ด้วยเหตุนี้ นักวิจัย และแพทย์จึงมองหาวิธีการป้องกันใหม่ ๆ ที่สามารถช่วยลดอัตราการติดเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Doxy-PEP คือ การใช้ยาปฏิชีวนะ Doxycycline ทันทีหลังจากมีเพศสัมพันธ์เพื่อป้องกันการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยวิธีนี้ได้รับการศึกษาอย่างจริงจัง และพบว่ามีศักยภาพในการลดอัตราการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้อย่างมีนัยสำคัญ

เปลี่ยนเข็ม เปลี่ยนชีวิต: ลดความเสี่ยงโรคติดต่อด้วยการใช้เข็มฉีดยาอย่างปลอดภัย

เปลี่ยนเข็ม เปลี่ยนชีวิต ลดความเสี่ยงโรคติดต่อด้วยการใช้เข็มฉีดยาอย่างปลอดภัย

การใช้เข็มฉีดยาอย่างปลอดภัย เป็นหัวใจสำคัญของการลดความเสี่ยงต่อการติดโรคติดต่อร้ายแรง เช่น เอชไอวี (HIV) และ ไวรัสตับอักเสบชนิดต่าง ๆ (Hepatitis B และ C) การใช้เข็มร่วมกัน หรือการใช้เข็มที่ไม่ได้มาตรฐานเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้โรคเหล่านี้แพร่ระบาด โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด (Injecting Drug Users: IDUs) แต่หากเรามีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติตามแนวทางที่ปลอดภัย ก็สามารถลดความเสี่ยงเหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

รุก-รับ ความแตกต่างในความเสี่ยงติดเชื้อเอชไอวี

รุก-รับ ใครเสี่ยงติดเชื้อเอชไอวีมากกว่ากัน? ความจริงที่คุณควรรู้

การติดเชื้อเอชไอวี เกิดจากการที่เชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกายผ่านของเหลว เช่น เลือด น้ำอสุจิ และสารคัดหลั่งจากอวัยวะเพศหรือทวารหนัก ความเสี่ยงของการติดเชื้อเอชไอวี จะแตกต่างกันไปตามบทบาททางเพศในระหว่างมีเพศสัมพันธ์

การดื้อยาต้านไวรัสเอชไอวี : สาเหตุ และแนวทางการรับมือในระยะยาว

การดื้อยาต้านไวรัสเอชไอวี สาเหตุ และแนวทางการรับมือในระยะยาว

การรักษาเอชไอวีด้วยยาต้านไวรัส (Antiretroviral Therapy หรือ ART) เป็นความก้าวหน้าทางการแพทย์ที่ช่วยให้ผู้ติดเชื้อสามารถมีชีวิตที่ยืนยาว และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อย่างไรก็ตาม ปัญหาสำคัญที่พบในการรักษาคือ การดื้อยาต้านไวรัส ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพของยา และการควบคุมไวรัสในระยะยาว

โลนกับความเสี่ยงจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่คุณอาจไม่รู้

โลนกับความเสี่ยงจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่คุณอาจไม่รู้

โรคโลน เกิดจากการติดเชื้อของเหาที่มักอาศัยอยู่ในขนบริเวณอวัยวะเพศ โดยเหาพวกนี้จะดูดเลือดเป็นอาหาร ทำให้เกิดอาการคันและระคายเคืองในบริเวณที่ถูกกัดและดูดเลือด เหาจะมีลักษณะตัวเล็กๆ ที่ตาเปล่าจะไม่ค่อยเห็น และมันจะมีการแพร่กระจายจากการสัมผัสใกล้ชิด เช่น การมีเพศสัมพันธ์ การใช้ผ้าห่มหรือชุดชั้นในร่วมกับผู้ติดเชื้อ หรือแม้แต่การใช้ห้องน้ำร่วมกันในบางกรณี

สร้างเกราะป้องกันด้วยตัวคุณเอง เคล็ดลับการป้องกัน HIV ที่ปรับให้เหมาะกับชีวิตประจำวัน

สร้างเกราะป้องกันด้วยตัวคุณเองเคล็ดลับการป้องกัน HIV

การป้องกันตัวเองจากการติดเชื้อ HIV ไม่ใช่เรื่องที่ซับซ้อน และยากเย็นเสมอไป เพราะคุณสามารถออกแบบการป้องกันให้เข้ากับชีวิตประจำวันของคุณได้อย่างลงตัว เพียงแค่เลือกวิธีที่เหมาะสม เพื่อให้คุณมีความมั่นใจ และปลอดภัยในทุกสถานการณ์ ไม่ว่าจะเป็นการใช้ถุงยางอนามัย การตรวจสุขภาพเป็นประจำ หรือการใช้ยาป้องกันก่อนการติดเชื้อ (PrEP)